ผังงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน

Posted on Mon, 08/16/2021 - 15:27 by Kritsana_Satapong

ผังงานการลงรายการดรรชนีบทความวารสารในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
WALAI AutoLib

index

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

การจัดทำดรรชนีบทความวารสารมีขั้นตอนการปฎิบัติงาน ดังนี้

1. รับวารสารจากงานลงทะเบียน

index

2. คัดเลือกบทความเพื่อจัดทำดรรชนีบทความวารสาร 

index

index

3.  อ่าน วิเคราะห์ และกำหนดหัวเรื่อง   โดยใช้คู่มือกำหนดหัวเรื่องจาก ฐานข้อมูลหัวเรื่องภาษาไทย (Thai Subject Headings) เว็บไซต์  https://webhost2.car.chula.ac.th/thaiccweb/main.php

index

4. เข้าสู่  dashboard  ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ  WALAI AutoLib

index

5. เลือกวารสารที่ต้องการจัดทำดรรชนีบทความวารสาร 

index

index

จะปรากฎหน้าจอ Worksheet  การลงรายการบรรณานุกรมบทความวารสาร ซึ่งหน้าจอ Worksheet การลงรายการบรรณานุกรม
บทความวารสาร สามารถแบ่งหน้าจอการทางานออกเป็น 4 ส่วน

index

ส่วนแสดงข้อมูล  A : เป็นส่วนแสดงรายละเอียดเบื้องต้นของวารสารที่ต้องการจัดทำดรรชนีบทความวารสาร ประกอบด้วย
รายละเอียดเบื้องต้นของวารสาร  ได้แก่ BIB ID, ISSN, เชื่อเรื่อง และข้อมูลตัวเล่ม 

index

ส่วนแสดงข้อมูล  B : ส่วนแสดงเมนูสำหรับการลงรายการบรรณานุกรมดรรชนีบทความวารสาร 

index

index

ส่วนแสดงข้อมูล C : ส่วนแสดงรายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นการลงรายการบรรณานุกรมบทความวารสาร  

index

ส่วนแสดงข้อมูล D :  ส่วนแสดงข้อมูลดรรชนีบทความวารสารในรูแบบ  MARC21   

index

6 ลงรายการบรรณานุกรมบทความวารสาร ตามมาตรฐาน MARC21 และ AACR2  

index

  6.1 แก้ไข  Leader  ตำหน่งที่ 17 Encoding level =  4

index

6.2  แก้ไข Tag 008  ตำแหน่งที่ 07-10 = 2564  ตำแหน่งที่ 15-17 = th ตำแหน่งที่  35-37 = tha

index

 6.3  ลงรายการ Tag 100  ชื่อผู้เขียนบทความ

index

6.4 ลงรายการ Tag 245  $aชื่อบทความ /$cชื่อผู้เขียนบทความ

index

6.5 ลงรายการ Tag 650  $aหัวเรื่องทั่วไป $xหัวเรื่องย่อยทั่วไป

index

 6.6  ลงรายการ Tag 773 $tหมอชาวบ้าน $gปีที่ 43, ฉ. 508 (สิงหาคม 2564), หน้า 16-22 $x0125-2275               

  index    

สำหรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLib จะมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกหรับผู้ปฏิบัตงานดรรชนีวารสาร คือ คู่มือการใช้งานมาตรฐาน MARC 21 format for bibliographic Data

index

index

index

index

7. ตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการบรรณานุกรม       

index

8. เมื่อตรวจสอบการลงรายการบรรณานุกรมดรรชนีบทความวารสาร เรียบร้อยแล้วให้ คลิกที่ ปุ่ม save recod เพื่อทำการบันทึกข้อมูล
ระบบจะแสดงข้อความยืนยันการบันทึก คลิก Yes เมื่อบันทึกเรียบร้อยแล้ว จะปรากฎหมายเลข  Jmarc ID ของดรรชนีบทความวารสาร

IND    

9. เมื่อจัดทำรายการบรรณานุกรรมดรรชนีบทความวารสารเรียบร้อยแล้ว ส่งตัวเล่มวารสารคืนงานลงทะเบียนวารสาร
เพื่อนำออกให้บริการต่อไป

index

 

 

Back to Top